กลิ่นปรุงแต่งอาหาร

กลิ่นของคาว

กลิ่นของคาวถูกนำไปใช้ทั้งในส่วนของอาหารสำเร็จรูปเอง และในส่วนเครื่องปรุงต่างๆ นอกจากนี้กลิ่นของคาวนี้ยังมีการนำไปใช้เพื่อทำผงปรุงรสสำหรับผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวด้วย

กลิ่นเนื้อสัตว์

กลิ่นไก่, กลิ่นไก่ทอด, กลิ่นหมู, กลิ่นแฮม, กลิ่นเบคอน, กลิ่นไส้กรอก, กลิ่นเนื้อวัว, กลิ่นเนื้อวัวอบ, กลิ่นเนื้อเป็ด, กลิ่นไข่ เป็นต้น

กลิ่นอาหารทะเล

กลิ่นปลา, กลิ่นแซลมอน, กลิ่นกุ้ง, กลิ่นปู, กลิ่นหมึก, กลิ่นหมึกกระดอง, กลิ่นหอยนางรม, กลิ่นหอยเชลล์, กลิ่นหอย, กลิ่นสาหร่าย เป็นต้น

กลิ่นสมุนไพร & เครื่องเทศ

กลิ่นกระเพรา, กลิ่นโหระพา, กลิ่นตะไคร้, กลิ่นใบมะกรูด, กลิ่นอบเชย, กลิ่นข่า, กลิ่นโสม, กลิ่นชิลลี่, กลิ่นขิง, กลิ่นออริกาโน่, กลิ่นกระเทียม, กลิ่นหอมใหญ่, กลิ่นพาสเล่ย์, กลิ่นปาปริก้า, กลิ่นพริกเม็กซิกัน (Jalapino), กลิ่นผักชี, กลิ่นสะระแหน่ เป็นต้น

กลิ่นผัก

กลิ่นมะเขือเทศ, กลิ่นคึ่นช่าย, กลิ่นเห็ด, กลิ่นเห็ดญี่ปุ่น, กลิ่นต้นหอม, กลิ่นฟักทอง, กลิ่นข้าวโพด, กลิ่นกะทิ

กลิ่นกระบวนการปรุง & กลิ่นซอส

กลิ่นบาร์บีคิว, กลิ่นย่าง, กลิ่นทอด, กลิ่นกะทะ, กลิ่นเนื้ออบ, กลิ่นควัน, กลิ่นควันถ่าน, กลิ่นควันฮิคโครี่, กลิ่นต้ม, กลิ่นเทียนอบ
กลิ่นซอสถั่วเหลือง, กลิ่นซอสปรุงรส, กลิ่นชิลลี่ซอส, กลิ่นซอสพริกศรีราชา, กลิ่นมายองเนส